คำอธิบาย
ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภท 1 ตราทีพีไอ (สีแดง) เป็นปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ ประเภท 1 (ORDINARY PORTLAND CEMENT TYPE 1) ผลิตขึ้นโดยให้คุณภาพของปูนซีเมนต์มีคุณสมบัติถูกต้องเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด ในมาตรฐานอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ มอก. 15 เล่ม 1-2555 ประเภทหนึ่ง และมาตรฐานอเมริกัน ASTM C-150 TYPE 1
ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภท 1 ตราทีพีไอ (สีแดง) เหมาะที่จะนำไปใช้กับงานก่อสร้างงานคอนกรีตที่ต้องการกำลังอัดสูง และงานคอนกรีตทั่วไป เช่น งานอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กทุกชนิด สะพาน ถนน สนามบิน และผลิตภัณฑ์คอนกรีตอัดแรงประเภทต่างๆ
เกณฑ์กำหนดคุณสมบัติทางเคมี |
ปูนปอร์ตแลนด์ประเภทหนึ่ง |
|||
ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ |
ตามมาตรฐาน |
ปูนซีเมนต์ทีพีไอ (สีแดง) |
||
มักเนเซียมออกไซด์ (MgO) | สูงสุดร้อยละ | 6.0 | 6.0 | 1.2 |
ซัลเฟอร์ไตรออกไซด์ (SO3) | ||||
เมื่อมี 3 CaO. Al2O3 ร้อยละ 8 หรือน้อยกว่า | สูงสุดร้อยละ | 3.0 | 3.0 | – |
เมื่อมี 3 CaO. Al2O3 น้อยกว่าร้อยละ 8 | สูงสุดร้อยละ | 3.5 | 3.5 | 2.5 |
การสูญเสียน้ำหนักเนื่องจากการเผา (Loss on lgnition) | สูงสุดร้อยละ | 3.0 | 3.0 | 1.1 |
กากที่ไม่ละลายในกรดด่าง (Insoluble Residue) | สูงสุดร้อยละ | 0.75 | 0.75 | 0.30 |
เกณฑ์กำหนดคุณสมบัติทางฟิสิกส์ | ||||
1. ความละเอียด (Fineness) | ||||
พื้นผิวจำเพาะ (Specific Surface) ตารางเซนติเมตรต่อกรัม | ||||
ทดสอบด้วย แอร์เพอมีอะบิลิตี (Air Permeability Test Blaine) | ||||
ค่าเฉลี่ยต่ำสุด ตารางเซนติเมตรต่อกรัม | 2800 | 2800 | 3500 | |
ค่าต่ำสุดสำหรับตัวอย่างใดตัวอย่างหนึ่ง ตารางเซนติเมตรต่อกรัม | 2600 | 2600 | 3000 | |
2. ความอยู่ตัว (Soundness) | ||||
การขยายตัวโดยวิธีออโตเคลฟว์ (Autoclave Expansion) | สูงสุดร้อยละ | 0.80 | 0.80 | 0.01 |
3. ระยะเวลาการก่อตัว (Time of Setting) ทดสอบแบบไวเคต (Vicat Test) | ||||
การก่อตัวระยะต้น | ไม่น้อยกว่า-นาที | 45 | 45 | 100 |
การก่อตัวระยะปลาย | ไม่มากกว่า-นาที | 375 | 375 | 180 |
4. ปริมาณอากาศในมอร์ต้า (Air Content of Mortar) โดยปริมาตร | สูงสุดร้อยละ | 12.0 | 12.0 | 5.0 |
5. แรงอัด (Compressive Strength) กิโลกรัมแรงต่อตารางเซนติเมตร | ||||
1 วันในอากาศชื้น 2 วันในน้ำ | ต่ำสุด | 122 | 122 | 180 |
1 วันในอากาศชื้น 6 วันในน้ำ | ต่ำสุด | 194 | 194 | 250 |
รีวิว
ยังไม่มีบทวิจารณ์